แท็ก: ไร่ชนิกา
มูลนิธิ”ชีวิตไม่สิ้นหวัง”มอบบ้านครอบครัวผู้ยากจนสร้างบ้านและไถ่ถอนโฉนดที่ดิน ที่จังหวัดพิจิตร(มีคลิป)
https://youtu.be/Drlw3M9zlKs
https://youtu.be/e8gI_uPNPag
https://youtu.be/U20cRgEWi34
https://youtu.be/f9LB0rh40kg
https://youtu.be/WRN_PqO-JLY
https://youtu.be/13aR5AyFltE
https://youtu.be/Nb1kE1GT_ww
https://youtu.be/Fsi2Yksd2Sg
เมือวันที่ 29 พฤษภาคม2561 เวลา09.00น. มูลนิธิ “ชีวิตไม่สิ้นหวัง” มอบให้ประธานที่ปรึกษาเข้าช่วยเหลือครอบครัวยากจนสร้างบ้านและไถ่ถอนโฉนดที่ดินให้ที่จังหวัดพิจิตร
พบครอบครัวยากจน มีรายได้จากการรับจ้าง เวลาฝนตกลงมาเข้าท่วมในบ้านจนไม่สามารถนอนได้ มูลนิธิ “ชีวิตไม่สิ้นหวัง” ได้ทราบข่าวจะสื่อต่างๆที่รายงานข่าวว่าพบครอบครัวฐานะยากจน ไม่มีเงินสร้างบ้านที่ยังสร้างไม่เสร็จ เนื่องจากไม่มีรายได้ที่จะสร้างต่อ
ยามฝนตกลงมาก็สาดเข้าท่วมในบ้านจนไม่สามารถนอนได้โดยสภาพบ้านก่อด้วยอิฐบล็อกชั้นเดียว ซึ่งยังไม่ได้ฉาบ หลังคาสังกะสีมีรูพรุนเกือบทั้งหลัง ทนฟ้าฝนไม่ได้ แค่บังแดดได้เท่านั้น ทั้งบ้านอยู่ในสภาพทรุดโทรม ซึ่งหากเป็นหน้าฝน บ้านจะรั่วจนไม่สามารถนอนได้นางปราณี มูลเมือง อายุ 50...
นายบุญเลิศ พุทธเจริญ รับมอบเกียร์ติบัตร “สี่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ” ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
นายบุญเลิศ พุทธเจริญเจ้าของไร่ชนิกาเพชรบูรณ์ และชาวสวนมะขามหวานเข้า รับมอบเกียร์ติบัตร "สี่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ "จากนายพิบูลย์ หัถกิจโกศล ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
บางท่านอาจไม่เข้าใจคำว่า"สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ "คืออะไรจึงขออธิบายพอเป็นสังเขป คือ ชื่อหรือสัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นใดที่บอกแหล่งผลิตของสินค้าโดยสามารถสื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจได้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือคุณลักษณะพิเศษแตกต่างจากสินค้าที่ผลิตในแหล่งผลิตอื่น เช่น มะขามหวานเพชรบูรณ์ที่ประกอบด้วยคำว่า มะขามหวานซึ่งบอกว่าสินค้าคืออะไรและคำว่าเพชรบูรณ์ซึ่งบอกแหล่งผลิตมะขามหวานดังกล่าว
และยังสื่อให้คน ทั่วไปเข้าใจว่ามะขามหวานดังกล่าวมีคุณภาพสูงมีรสชาติหวานและไม่แฉะอันเป็นคุณลักษณะเฉพาะของมะขามหวานเพชรบูรณ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากดินที่เหมาะสมสำหรับการปลูกมะขามและปริมาณน้ำฝนที่พอ เหมาะพอดีในจังหวัดเพชรบูรณ์ประกอบกับฝีมือการเพาะปลูกของเกษตรกรชาวเพชรบูรณ์ ซึ่งมีกรรมวิธีในการปลูกโดยเฉพาะจึงทำให้มะขามที่ปลูกในจังหวัดเพชรบูรณ์มีความหวานมากกว่าท้องถิ่นอื่น ฉะนั้น สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบหรือปัจจัยสำคัญสองประการคือ ธรรมชาติกับมนุษย์ในแหล่งหรือท้องที่นั้น
โดยธรรมชาตินั้นสร้างสิ่งแวดล้อมหรือวัตถุดิบให้แก่การผลิตสินค้า ส่วนมนุษย์นั้นใช้ทักษะ ความชำนาญ...